หน้าร้าน  :  Gallery สินค้า  :  ข่าวสารจากร้านค้า  :  วิธีการชำระเงิน  :  ติดต่อร้าน  :  เที่ยววัดสะพานสูง  :  sss
เกจิน้อย พระเครื่องออนไลน์
ลำดับที่เยี่ยมชม

Online: 106 คน
ยินดีต้อนรับ เข้าสู่ : เกจิน้อย พระเครื่องออนไลน์

รายละเอียดร้านค้า

ชื่อร้านค้า เกจิน้อย พระเครื่องออนไลน์
ชื่อเจ้าของ นายสัญญา นาคบุตร (นก- ชุมพร)
รายละเอียด ให้บูชาพระเครื่องและแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับพระเครื่อง สนใจโทรหาต่อรองราคากันได้ตามมิตรภาพครับ ส่วนภาพถ่ายพระเครื่องใน ร้าน เกจิน้อยพระเครื่องออนไลน์ ทางร้านขอสงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ลิขสิทธิ์ & นโยบายส่วนตัว ห้ามนำภาพในร้านไปเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนุญาตอย่างเป็นทางการจากทางร้าน ไม่ว่ากรณีใดๆก็ตาม หากพบเจอจะดำเนินคดีตามกฎหมายที่บัญญัติไว้สูงสุด
เงื่อนไขการรับประกัน พระทุกองค์ที่เปิดเช่ารับประกันแท้ตามมาตรฐานสากลนิยม ครับ หากพระเก้ หรือ มีปัญหา รับคืนเต็มจำนวน หากคืนพระในสภาพเดิม ภายใน 7 วัน คืน 100 % ภายในสองสัปดาห์ คืน 75 % ภายใน 1 เดือน คืน 50 % .
ที่อยู่ 116 ม.8 ต.นากระตาม อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร
เบอร์ที่ติดต่อ 081-4070684
E-mail noksunyaarea@gmail.com และnoksunya@hotmail.co.th
วันที่เปิดร้าน 05-06-2556 วันหมดอายุ 05-06-2568

ท่านสามารถชำระเงิน ผ่านทางธนาคาร อีแบงค์กิ้ง หรือ ตู้ ATM ตามบัญชี ด้านล่าง

โลโก้
ธนาคาร
สาขา
ชื่อบัญชี
เลขที่บัญชี
ประเภทบัญชี
0 0
นายสัญญา นาคบุตร 
0
ออมทรัพย์ 

วัตถุมงคล: เครื่องราง ของขลัง
เหรียญพิฆาตไพรี เนื้อตะกั่วผสมดีบุก สร้างขึ้นในสมัยรัชกาล ที่ ๒ ราวปีพ.ศ.๒๓๖๔ (เหรียญที่ 2)
28-12-2562 เข้าชม : 3050 ครั้ง

[ ชื่อพระ ] เหรียญพิฆาตไพรี เนื้อตะกั่วผสมดีบุก สร้างขึ้นในสมัยรัชกาล ที่ ๒ ราวปีพ.ศ.๒๓๖๔ (เหรียญที่ 2)
[ รายละเอียด ] เหรียญพิฆาตไพรี เนื้อตะกั่วผสมดีบุก สร้างขึ้นในสมัยรัชกาล ที่ ๒ ราวปีพ.ศ.๒๓๖๔ (เหรียญที่ 2) จัดเป็นเหรียญศักสิทธิ์แห่งอาณาจักรศรีวิชัย เป็นเหรียญเครื่องรางของขลังสร้างขึ้นเพื่อแจกจ่ายทหารที่ไปออกศึกโดยจัดทำขึ้นให้มีรูปพญาครุฑฉุดนาคเป็นการตัดไม้ข่มนามตามตำราพิชัยสงครามโบรานจัดสร้างขึ้นในราวปี พ.ศ.๒๓๖๔ นับเป็นมรดกที่ตกทอดกันมาของบรรพบุรุษที่เสียสละเพื่อบ้านเมืองเหรียญนี้ได้รับการปลุกเสกจากผู้เรืองเวทในยุคนั้น ชื่อเหรียญคือไพรีพินาศทำอะไรก้อสำเร็จไม่พ่ายแพ้แก่ผู้ใดนับเป็นของที่หายากขนาดเหรียญประมาน ๓.๐๐เซ็นติเมตร เนื้อตะกั่วผสมดีบุก ใครมีครอบครองติดตัวไว้เป็นศิริมงคลแก่ตนเอง จตนาสร้างเพื่อราชการสงครามจึงอุดมไปด้วย พระคาถามหาอุตม์ สุดคงกระพันชาตรี คงเป็นที่สุดของเครื่องรางแห่งเมืองสยามบนแผ่นดินปักษ์ใต้บ้านเรา นับเป็นอีกหนึ่งสุดยอดเครื่องราง สุดยอดเหรียญศักสิทธิ์แห่งอาณาจักรศรีวิชัย ที่นับวันยิ่งหาชมยาก ส่วนเหรียญ นี้ สภาพยังคลาสสิค หายากน่าเก็บน่าใช้อีกละคราฟ ************************************************************************************************************************************** ราว พ.ศ. ๒๓๖๔ ทางเมืองนครศรีธรรมราช ได้ระแคะระคายการเอาใจออกห่างของเจ้าเมืองไทรบุรีในสมัยนั้น ( ตนกูปะแงรัน ) จึงได้วางกุศโลบายทดสอบใจของตนกูปะแงรัน เจ้าพระยานคร ( น้อย ) ได้พบว่า ตนกูปะแงรัน เอาใจออกห่างจากรัฐบาลกรุงรัตนโกสินทร์จริง จึงได้เริ่มสงครามปราบปรามกบฎเมืองไทรบุรี ซึ่งกินเวลายาวนานถึง ๒ รัชกาล และทำสงครามทั้งหมด ๔ ครั้ง ในสงครามทุกครั้ง เจ้าพระยานคร ( น้อย ) จะได้ชัยชนะทุกครั้งในการยกทัพลงไปปราบปราม นอกจากยุทธวิธี และ วิเทโศบายทางการฑูต ของเจ้าพระยานคร ( น้อย ) ที่เด็ด ขาด สามารถรักษาดินแดนทางตะวันตกไว้ได้ อีกสำคัญประการหนึ่ง คือ ด้านขวัญกำลัง ใจ ในการสู้รบ มีเรื่องเล่าเชิงตำนานสืบต่อกัน ของผู้เฒ่าคนแก่ๆ ที่ยังจำเรื่องราวได้ ว่า ในการศึกไทรบุรีครั้งที่ ๔ ครั้งสุดท้าย ตนกูเด่นผู้ก่อกบฎ ได้ใช้เหล็กไหลเป็นเครื่องรางของทหารฝ่ายกองกบฎ ทำให้ทหารไทยที่รักษาเมืองไทรบุรี ไม่สามารถต่อกรได้ ทำให้ฝ่ายกบฎสามารถยึดเมืองไทรบุรีได้สำเร็จ เจ้าพระยานคร ( น้อย ) ได้รับคำแนะนำจากพระเถราจารย์ผู้หนึ่ง ให้ไปเอา “ พระกรุบ้านท่าเรือ ” แจกจ่ายแก่ทหาร พร้อมกับ “ เหรียญพิฆาตไพรี ” ที่ได้สร้างขึ้น เมื่อในคราวปราบกบฎในครั้งแรก ให้ทหารพกติดตัว เมื่อทำสงครามครั้งสุดท้าย กองทัพสยามที่เมืองนครฯ ตลอดจนหัวเมืองใต้สังกัด สามารถกำชัยชนะกลับมาสู่ฝ่ายสยามได้สำเร็จ และเมื่อกองทัพเมืองนครฯ กลับมาสู่บ้านเมืองแล้ว เหล่าทหารก็ได้นำพระกรุท่าเรือ ไปคืนยังวัดโพธิ์ท่าเรือ ( ปัจจุบันคือ วิทยาลัยนาฎศิลป์ นครศรีธรรมราช ) และนำเหรียญพิฆาตไพรี ไปหว่านทิ้งในลำคลองสายต่างๆ จนหมดสิ้น ด้วยถือกันว่า เป็นเหรียญที่มีคุณในการทำลายล้าง การพกพาไปทำในสิ่งผิดกฎหมายย่อมไม่ดีแน่ๆ จึงได้นำไปจำเริญในพระแม่คงคา เพื่อระงับอานุภาพของเหรียญลง ลักษณะของเหรียญพิฆาตไพรีนั้น ถูกจัดว่าเป็น หัวนอโมประเภทเหรียญกษาปณ์ ที่สร้างมาเพื่อการสงครามโดยเฉพาะ เหรียญนั้นมีลักษณะวงกลม มีขนาดต่างๆกัน ตั้งแต่ ๒.๓ ซม. – ๔.๕ ซม. ถ้าเป็นทหารไพร่พลทั่วไปจะมีขนาดเล็ก ถ้าเป็นหัวหมู่ นายกอง ขุนศึก ก็จะมีขนาดที่ใหญ่ขึ้นมาตามลำดับยศของตน ด้านหน้าเป็นรูปพญาครุฑ อันเป็นสัญลักษณ์ประจำพระองค์ของล้นเกล้ารัชกาลที่ ๒ และด้านหลัง เป็นรูปพญานาค สัญลักษณ์ประจำเมืองไทรบุรีที่มีมาแต่โบราณ เป็นลักษณะของการ “ จับเอาคู่พิฆาตของเมือง มาตัดไม้ข่มนาม ” ตามหลัก การทางพิไชยสงครามภาคไสยศาสตร์ตามตำราโบราณ เหรียญพิฆาตไพรี ทำจากเนื้อโลหะประเภท “ ชิน ” ซึ่งเป็นการผสมโลหะ ระหว่างตะกั่ว และ ดีบุก ซึ่งอำนวยการสร้างโดยเจ้าพระยานคร ( น้อย ) ได้ผ่านการประกอบพิธีทางพิไชยสงคราม ทั้งในด้านศาสนาพราหมณ์ ที่มีพราหมณ์มาสวดพระเวท ในด้านการปราบปราม ชนะภยันตรายต่าง และ ในด้านศาสนาพุทธ ก็จะนิมนต์พระลังกาทั้ง ๔ คณะ มาเจริญพระราชปริตร ๑๒ ตำนาน ตลอดจนมงคลคาถาต่างๆ จนมั่นใจว่าเกิดอิทธิคุณขึ้นดีแล้ว เจ้าพระยานคร ( น้อย ) ในฐานะของแม่ทัพใหญ่ จึงได้แจกเหรียญพิฆาตไพรีให้กับไพร่พลในกองทัพสยามใต้ ในพิธีตัดไม้ข่มนาม ลอดโขลนทวารประตูป่า ที่วัดสัมฤทธิไชย ( ศาลามีชัย ) วัดที่ใช้ในการประกอบพิธีก่อนออกศึกในทางทิศใต้ของเมืองนคร นอกจากเหรียญพิฆาตไพรี จะมีในลักษณะเป็นรูป ครุฑปราบนาค สำหรับการศึกที่ไทรบุรีแล้ว ยังมีเหรียญพิฆาตไพรี สำหรับปราบกบฎแขกเจ็ดหัวเมืองอีกด้วย โดยลักษ ณะของเหรียญนั้น ด้านหน้าเป็นรูป “ สิงหราช ” ตราสมุหกลาโหม สัญลักษณ์พิฆาตเมืองปัตตานี ซึ่งมี “ วัว ” นักษัตร “ ฉลู ” เป็นสัญลักษณ์ประจำเมือง แต่ทางช่าง ได้ปรับจากรูป “ วัว ” เป็นรูป “ กวาง ” สัตว์ที่เป็นเหยื่อของเสือสิงห์ ไว้ด้านหลังของเหรียญแทน เหรียญพิฆาตไพรี “ สิงห์ปราบกวาง ” ถูกนำมาจัดเป็นสัญลักษณ์ในการ “ ปราบปราม ” ในด้านพิไชยสงครามภาคไสยศาสตร์ของเมืองนครศรีธรรมราช และเมื่อเหรียญพิฆาตไพรีถูกแจกจ่ายไปในกองทัพที่ลงไปปราบเมืองแขกทางตะวันออก ก็เป็นขวัญกำลังใจ ทำให้กองทัพสยามสามารถ “ พิฆาต ” กบฎแขกเจ็ดหัวเมืองลงไปได้จนสิ้น เมื่อเสร็จจากสงครามแล้ว เหรียญพิฆาตไพรีทั้งสองแบบ ก็ถูกนำไปกลับคืนสู่แม่น้ำลำคลอง ตามความเชื่อของคนนครในยุคโบราณฯ ในยุคหลังถัดมา ได้มีการพบเหรียญพิฆาตไพรีในสายน้ำคลองท่าแพ คลองท่าวัง ตลอดจนลำคลองสายต่างๆ แต่เหรียญก็ไม่ได้มีจำนวนมากนัก เป็นที่หายาก และ นิยมในหมู่นักสะสมวัตถุโบราณ ของเมืองนครศรีธรรมราช ดังที่จดหมายเหตุของนายคอร์เนลิส ฟอน นิวรูท ชาวฮอลันดา ที่เข้ามาในกรุงศรีอยุธยาและได้บันทึกเมื่อปี พ.ศ. ๒๑๗๗ ความตอนหนึ่งกล่าวว่า "พระเจ้าแผ่นดินสยามทรงจัดเตรียมกองทัพอันเข้มแข็ง มีจำนวนทหาร ๓๐,๐๐๐ คน ในกรุงศรีอยุธยาเพื่อส่งไปปราบกบฏในเมืองปัตตานี เมื่อเสร็จจากศึกสงครามยกกองทัพคืนเมืองนครศรีธรรมราชแล้วทหารเหล่านั้นก็โยนทิ้งเหรียญที่นำไปออกศึกสงครามเหล่านี้ในแม่นำ้ลำคลอง นับเป็นเหรียญที่ระลึกการออกศึกสงครามของทหารเมืองนครศรีธรรมราชในสมัยก่อน โดยเหรียญรูปพญาครุฑคู่พญานาคเท่าที่พบมีถึง ๗ ขนาด ขนาดใหญ่ที่สุด จะพบน้อยมาก สำหรับให้แก่แม่ทัพ โดยมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๗ เซนติเมตร และขนาดที่เล็กที่สุดมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๒.๓๐ เซนติเมตร การสร้างเหรียญพิฆาตไพรีนี้ก็ต้องใช้เวลามาก จึงต้องระดมช่างมาแกะแบบพิมพ์และเทพิมพ์หลายคนช่วยกันทำ จึงปรากฏว่ามีหลายพิมพ์ การที่มีหลายขนาดก็คงสร้างให้กับทหารในกองทัพตามลำดับตำแหน่งใหญ่เล็กและหน้าที่ลดหลั่นกันลงมา
[ ราคา ] ฿10000
[ สถานะ ] ขายแล้ว
[ติดต่อเจ้าของร้านเกจิน้อย พระเครื่องออนไลน์ ] เบอร์โทรศัพท์ : 081-4070684


วัตถุมงคล: เครื่องราง ของขลัง
เหรียญพระจุลมงกุฏ - พระแสงจักร สมัยรัชกาลที่ ๔ จัดสร้างราวปี ๒๔๓๓-๒๔๕๒
ลูกอมผงปถมังผสมน้ำนมควาย พ่อท่านมุ่ย วัดป่าระกำเหนือ ยุคแรกราวปี ๒๕๑๓
ลูกอมหลวงพ่อไล้  วัดเขายี่สาร จ.สมุทรสงคราม จัดสร้างราวปี พ.ศ.2430-2450
ลูกอมมหากัน หลวงพ่อคง วัดบางกระพ้อม จ.สมุทรสงคราม จัดสร้างราวปี ๒๔๘๐-๒๔๘๔
ปลัดขิกหลวงพ่ออี๋ วัดสัตหีบ จ.ชลบุรี (ตัวที่ 2)
ราหูกะลาตาเดียวเเกะ ครูบาอ้าย ยาวิระ วัดปากกอง จ.ลำปาง สร้างราวปี ๒๔๗๐-๒๔๘๐
ราหูกะลาตาเดียวแกะ สาธุใหญ่จันเพ้ง จันทะสาโร วัดผานม สปป.ลาว ปี 2498 (ชิ้นที่1)
แมลงภู่คำ งอ แกะ (จิ่วๆ)
ปลากัดหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ (วัดพระญาติการาม)
แหวนหล่อโบราณ หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา จ.สุพรรณบุรี จัดสร้างราวปี ๒๔๗๕
ตะกรุดหนังกระเบน หลวงพ่อน้อย วัดคงคาราม พิจิตร สร้างปี 2480-2490
ลูกสะกด หลวงพ่อเนียม วัดน้อย เนื้อตะกั่วผสมปรอท เชือกเดิมๆ
เบี้ยแก้ หลวงพ่อทัต วัดคฤหบดี (ลูกที่ 3)
ลูกสวาทอุดผงพระอาจารย์เอียด วัดดอนศาลา (สำนักเขาอ้อ) จ.พัทลุง  (ลูกที่ 1)
กะลาราหูแกะ หลวงพ่อแขก กาวิโร วัดสันป่าลาน อ.บ้านตาก จ.ตาก (องค์ที่ 2)
เบี้ยแก้หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว โทเร ปี ๒๕๑๖
ตะกรุดกระดูกห่าน หลวงพ่อหรุ่น เก้ายอด แห่งวัดอัมพวัน
ตะกรุดหนังเก้ง หลวงพ่อเหนี่ยง วัดสองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี
ตะกรุดไม้ครูหลวงปู่จันทร์  วัดนางหนู จ.ลพบุรี
พระพนัสบดี กรุวัดจันทร์ เนื้อสำริด ศิลปศรีวิชัย จ.นครศรีธรรมราช พิมพ์ใหญ่ (องค์ที่ 2)
เต่าสำลีชุบเทียนครูบาชัยวงศ์ วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อ.ลี้ จ.ลำพูน  (ตัวที่1)
จิ้งจกมหาเสน่ห์ 2 ปี้ หลวงพ่อหน่าย วัดบ้านแจ้ง
ปลัดขิก หลวงพ่ออี๋ สัตหีบ ปลัดฉลามเมิน (ชิ้นที่ 1)
ลูกอมชมพูนุช (เทพรำลึก) หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน ออกวัดซับลำใย จ.ศรีสะเกษปี ๒๕๔๒  (ลูกที่ 2)
เขี้ยวเสือแกะพิมพ์นิยมก๊อตซิลล่า (ตัวจิ๋ว) พ่อท่านหมุน วัดเขาแดงออก จ.พัทลุง (ตัวที่ 2)
ตะกรุด หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า จ.ชัยนาท
กุมารทองดูดรกหลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง นครปฐม รุ่นแรกพิมพ์เล็กหลังยันต์จมปี 2485 ต้นๆ
ปลัดขิกเขาควายเผือก  อุดกริ่ง หลวงพ่อโศก วัดปากคลองบางครก จ.เพชรบุรี
ลูกอมผงพรายกุมาร   หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่ จ.ระยอง  แบบมีห่วงลวด
วัวธนูเขาแกะ ครูบาอินทร์ตา วัดวังหงส์  จ.แพร่ ปี ๒๔๙๗
วัวธนูหาญล้านนา เนื้อครั่งพุทราตายพราย
แหวนงาแกะ หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ ศิลป์หน้าสิงห์ จ.สุพรรณบุรี
ลูกอม พญาช้างสารม้วนโลก หลวงพ่อดำ วัดกุฏิ จ.ปราจีนบุรี จัดสร้างประมาณปี ๒๔๔๐ ยุคต้น (ลูกที่ 1)
ลูกประคำผงพรายกุมารยุคแรก หลวงปู่ทิม อิสริโก วัดละหารไร่
ทันตธาตุ  หรือ ฟัน หลวงพ่อปลอด วัดปากทะเล จ.เพชรบุรี ถักเชือกเดิมๆ
ปลัดขิกปลาชะโดไม้แกะ หลวงพ่อสังข์ สุริโย วัดนากันตม  ศรีสะเกษ
ตะกรุดขาปิ่นโต หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ จ.สุพรรณบุรี  ยุคต้น
หัวนะโม พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ เทวดาเมืองคอน (เม็ดที่ ๕)
ตะกรุดโทนหลวงปู่ภู วัดดอนรัก เนื้อตะกั่ว จ.อ่างทอง
ปลัดขิกสะท้านเวหา หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก ยุคต้น ศิลป์สวย จารลึกยันต์เต็มสูตร
ปลัดขิกสะท้านเวหา หลวงพ่อยิด วัดหนองจอก  (ศิลปพ่อฟัก)
ปลัดขิกหลวงพ่อกลั่น วัดอินทราวาส อ่างทอง ตัวเล็กยุคต้นๆ ขนาด ๑.๕๐ นิ้ว
เสือหลวงพ่อแตง วัดอ่างศิลานอก จ.ชลบุรี
อิ้นมหาเสน่ห์ ครูบาสายเหนือ สร้างจากดิน ๗ โป่ง (๗ ป่าช้า) ห่อด้วยหนังสัตว์ ผูกด้วยสายสิญมัดตราสัง
เสือแกะมหาอำนาจ หลวงพ่อเปิ่น วัดบางพระ จ.นครปฐม   เนื้อกระดูก ปี ๒๕๓๗
เขี้ยวเสือแกะพิมพ์นิยมก๊อตซิลล่า พ่อท่านหมุน วัดเขาแดงออก จ.พัทลุง จัดสร้างราวปี ๒๕๑๖
แหวนพิรอดหล่อโบราณ พ่อท่านหมุน วัดเขาแดงตะวันออก จ.พัทลุง ยุคก่อน ๒๕๐๐
ปลัดขิกพร้อมไข่ หลวงพ่อเขียน ธัมมะรักขิโต วัดสำนักขุนเณร จ.พิจิตร
ปลัดขิกสายฟ้าฟาด เนื้อปีกเครื่องบิน หลวงพ่อไสว วัดปรีดาราม จ.นครปฐม ปี 2541
ตะกรุดพอกครั่งหลวงพ่อทองสุข วัดโตนดหลวง จ.เพชรบุรี ขนาด ประมาณ ๒ นิ้ว (1)
เกล็ดนิ่ม หลวงปู่ภู วัดท่าฬ่อ จ.พิจิตร
เหรียญพิฆาตไพรี เนื้อตะกั่วผสมดีบุก สร้างขึ้นในสมัยรัชกาล ที่ ๒ ราวปีพ.ศ.๒๓๖๔ (เหรียญที่ 2)
เหรียญกษาปณ์คุชชาน แห่งราชวงศ์คุชชาน (Kushan) ปี พ.ศ. ๗๐๘ (ต้น ค.ศ. ๑๖๕ ) เนื้อทองแดง (เหรียญที่ 2)
ตะกรุดเจ็ดดอก หลวงพ่อแดง วัดภูเขาหลัก จ.นครศรีธรรมราช (ชุดที่1)
ล็อคเก็ตไอ้ไข่ เด็กวัดเจดีย์  รุ่นสรงน้ำ ๕๘ (พิมพ์ใหญ่)
หัวนะโม เนื้อเงิน หลังพ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ เทวดาเมืองคอน (เม็ดที่ 4)
ผาลไถ พ่อท่านชื่น วัดในปราบ สุราษฎร์ธานี (ชิ้นที่ 8)
เสือหลวงพ่อเรือน วัดคลองด่าน (บางเหี้ย) สมุทรปราการ สร้างประมาณ พศ.๒๔๔๐-๒๔๕๓
หุ่นพยนต์ตัว พ.แก้วสารพัดนึก หลวงปู่เย็น ทานรโต วัดสระเปรียญ (ตัวที่ 3)
หัวนะโม หลังดอกจันทร์ เนื้อเงินโบราณ จ. นครศรีธรรมราช (เม็ดที่ 2)
เบี้ยแก้ รุ่นแรก เบี้ยองค์ครู หลวงปู่เช้า วัดห้วยลำใย จัดสร้างปี ๒๕๕๖
พระอุปคุตหลังยันต์ หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา จ.สุพรรณบุรี (องค์ที่2)
เหรียญกษาปณ์คุชชาน แห่งราชวงศ์คุชชาน (Kushan) ปี พ.ศ. ๗๐๘
แหวนงูเกี้ยว หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา จ.สุพรรณบุรี
ลูกอมหลวงพ่อเนตร วัดตุ๊กตา จ.นครปฐม สร้างขึ้นในช่วงปี ๒๕๐๐
เหรียญเงินโบราณสมัยทวารวดี
เหรียญเงิน อินเดียโบราณ (ราชวงศ์โมกุล) ช่วง ค.ศ. ๑๕๒๖-๑๘๕๘
เบี้ยแก้ หลวงพ่อทัต วัดคฤหบดี (แบบไม่มีหู) ลูกที่ 1
เหรียญเทพเจ้าจุ้ยโบเนี้ย (เจ้าแม่ทับทิม)หลังเทพเจ้าไฉชิ่งเอี๊ย ปี ๒๕๒๗
พญาต่อเงิน-ต่อทอง หลวงพ่อจืด สวนปฏิบัติธรรมโพธิเศรษฐี ปี ๒๕๔๔ (ตั้วที่1)
พระชิวหา วัดควนเกย จ.นครศรีธรรมราช
เม็ดประคำเนื้อผงยาจินดามณีหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม ยุคแรกๆ
ตะกรุดสาริกา(หนังหน้าผากเสือ) หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม จ.นครปฐม สร้างประมาณ ปี ๒๕๑๐-๑๕
เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย รุ่น "สยบไพรี" พิมพ์ใหญ่ อ้าปาก ปี ๒๕๖๑
เหรียญเจ้าพ่อเห้งเจีย รุ่นกู้วิกฤติ ช่วยหมื่นชีวิต ร้อยตระกูล เนื้อฝาบาตร หมายเลข ๗๕๕
พญาวานร งาช้างแกะ หลวงพ่ออนันต์ วัดบางพลีน้อย จ.สมุทรปราการ ยุคแรกๆ
ลูกอมมหาเสน่ห์ หลวงพ่อสงวนวัดไผ่พันมือ จ.สุพรรณบุรี  จัดสร้างราวปี พ.ศ.๒๕๑๐  (ลูกที่ 2)
หุ่นพยนต์ตัว พ.แก้วสารพัดนึก หลวงปู่เย็น ทานรโต วัดสระเปรียญ อ.สรรค์บุรี ชัยนาท (ด้ายแดง)
หุ่นพยนต์ตัว พ.แก้วสารพัดนึก หลวงปู่เย็น ทานรโต วัดสระเปรียญ อ.สรรค์บุรี ชัยนาท (ด้ายน้ำเงิน)
ปลัดหัวชะมดเนื้อสีชมพู (เนื้อผงจูงนางเข้าห้อง) หลวงพ่อเอิบ วัดหนองหม้อแกง ปี ๒๕๕๐
ปิรามิดปรอทกายสิทธิ์ หลวงปู่ละมัย ฐิตมโน แห่งสำนักสวนป่าสมุนไพร จ.เพชรบูรณ์ ยุคต้น
ลูกอมเทียนชัยหนังเสือ หลวงพ่อโอด วัดจันทร์เสน นครสวรรค์ ยุคต้น
ลูกอมเทียนชัยหนังเสือ หลวงพ่อโอด วัดจันทร์เสน นครสวรรค์ ยุคปลาย
ปลาตะเพียนหลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม นครปฐม ยุคแรก ปี ๒๕๑๑
ควายธนู หลวงปู่จันทร์ วัดทุ่งเฟื้อ นครศรีธรรมราช ยุคแรก (ตัวที่1)
ลูกอมมหาเสน่ห์ เนื้อผงอิทธิเจ หลวงพ่อสงวน วัดไผ่พันมือ จ.สุพรรณบุรี ปี  ๒๕๑๐
ตะกรุดมหายันต์ หลวงพ่อคล้อย วัดภูเขาทอง จ.พัทลุง ปี ๒๕๕๓
ปลาตะเพียนเงิน ปลาตะเพียนทอง หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก สร้างราวปี ๒๕๐๐
ควายธนู หลวงปู่จันทร์ วัดทุ่งเฟื้อ นครศรีธรรมราช รุ่นสอง หลังยันต์
เหรียญมหาบารมี-มังกรทะยานฟ้า ท่านอาจารย์โง้วกิมโคย (เซียนแปะโรงสี) ปี ๒๕๖๐
เขี้ยวหมูตันแกะเสือ หลวงพ่อไสว วัดปรีดาราม จ. นครปฐม
สาริกาเทพประทาน รุ่นแรก หลวงปู่ดี วัดโพธิ์ศรีถาวร
ตัว พ. พิสดาร พยนต์พรายกระซิบ เนื้อผงพราย หลวงปู่ญาครูเฒ่าเต็ม มหาวีโร อายุ ๙๖ ปี
ตะกรุดมหาจักรพรรดิ์ตราธิราช สำนักประดู่ทรงธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี ๒๕๕๗
หมูมหาลาภหลวงพ่อสาคร วัดหนองกรับ จ.ระยอง รุ่น 2 ปี 2538
เหรียญหวานหมู หรือ พญาหมูขี่เสือหลวงปู่ครูบาคำเป็งปี 54
นกสาริกาตัวผู้ หลวงพ่อน่วม วัดหลวงครู ปี ๒๕๑๗
พระพิฆเณศร์ หล่อโบราณ พิมพ์เล็ก  ศิลปนคร
เสื้อยันต์หลวงพ่อคง วัดวังสรรพรส
น้ำเต้ากันภัย หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพ รุ่น ๒ ปี ๒๕๒๗
พญาต่อเงินต่อทอง หลวงพ่อจืด สวนปฏิบัติธรรมโพธิเศรษฐีวนาราม  ปี ๒๕๔๖
ปลาพยูนมหาเสน่ห์ หลวงพ่อสงวน สำนักสงฆ์ควนปริง จังหวัดสตูล ปี ๒๕๕๙
น้ำเต้าโภคทรัพย์ ลงยันต์พญาเสือโคร่ง พระอาจารย์ซ้ง วัดประดู่ (อินทราวาส)กรุงเทพ
แหวนโบราณ เนื้อสัมฤทธิ์โชคโบราณ ยุคทวาราวดี
เข็มกลัดพญานาค ลงยาสีแดง ยาวประมาณ 2.2 นิ้ว
ถั่วลิสงหล่อโบราณ อุดกริ่ง เนื้อออกสัมฤทธิ์
แก้วสารพัดนึก หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี ยันต์เฑาะห์ (5)
ลูกแก้วสารพัดนึก หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี พิมพ์หยดน้ำ-เหลี่ยมเพชร (4)
พระบูชาพระนารายณ์สี่กรทรงสิงห์
ลูกอมเนื้อตะกั่ว ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.8 ซม.
พระพิฆเนศ เนื้อสัมฤทธิ์ ศิลปะนครวัด
นกคุ้มมารุมเรียกทรัพย์ หรือ นกคุ้มกันไฟ ปี 2548
เบี้ยวาจำลอง วัดชลอ บางกรวย จ.นนทบุรี ปี 2538
ปลัดขิกปลาชะโด ไม้แกะวัดถ้ำแฝด
อิ่นหินนาคกระสวย สุดยอดอิ่นหินของทางล้านนา.
แหวนพิรอด (กลับร้ายกลายเป็นดี) หลวงพ่อขวัญ วัดบ้านไร่
บูชาแป๊ะกง ขนาดองค์สูง ๑๒ นิ้ว
ช้างหล่อทรงเครื่อง บนหลังมีก้อนเงินจีนโบราณ (1 คู่)
พระอุปคุตเขมร เนื้อทองผสม (แก่ทอง)
พระอุปคุตอุปคุตหลังยันต์ หลวงพ่ออิ่ม วัดหัวเขา จ.สุพรรณบุรี (องค์ที่ 1)
เงินพดด้วงตราช้าง ข้างอุ สมัยสุโขทัย
ปลัดหัวชะมดเนื้อผงว่านดอกทอง หลวงพ่อเอิบ วัดหนองหม้อแกง
เหรียญหวานหมู หรือ เหรียญพญาหมูขี่เสือ อุนะอุเฮงเฮงเฮงรวยรวยรวยตลอดกาล
ลูกปัดทวาราวดี เขาสามแก้ว ชุมพร
กบสามขา หรือ คางคกสวรรค์ คาบเหรียญจีน
ลูกแก้วสารพัดนึก หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี (3)
สิงห์ 2 ขวัญ ยกขามหาอำนาจ เนื้อสำริด
เทพปี่เซียะ หินหยกแกะ ขนาด 6.5x4 นิ้ว
จิ้งจกขี่ปลัดขิก ไม้แกะ
สิงห์ยกขามหาอำนาจ เนื้อตะกั่วชุบนิกเกิล กะหลั่ยทอง
ลูกแก้วสารพัดนึกกลมใส หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี (2)
น้ำเต้าเงิน น้ำเต้าทอง ครูบาออ ปณฺฑิต๊ะ  สำนักสงฆ์พระธาตุดอยจอมแวะ
แก้วสารพัดนึก หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จ.อุทัยธานี ยันต์เฑาะห์ (1)
กุมารทองดูดรก วัดตาก้อง จ.นครปฐม ขนาดบูชา
กุมารทอง  ขนาดบูชา ก้นอุดผง
เสือหล่อโบราณขนาดบูชา
นกสานจากใบลานจารเก่าทั้งตัว ห้อยตะกรุด ไม่ทราบสำนัก
ผ้ายันต์นางกวักพ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ สีขาว
กระโหลกเสือแม่ลูกอ่อน หลวงพ่อชำนาญ วัดบางกุฎีทอง
อิ่นเนื้อผง พิมพ์จิ๋ว
ไม้เท้าเวสสุวรรณ หรือคฑาวุธของท้าวเวสสุวรรณ เนื้อเขาควายแกะ
ปูกลายเป็นหิน
ตะกรุดคู่ ไหมเจ็ดสี
บูชาแม่นางกวัก ขนาดฐาน 2 x 4.5 นิ้ว
ตะกรุดไผ่ตันหลวงพ่อไสว วัดปรีดาราม ยุคแรก
เหรียญ""เจ้าพ่อเห้งเจีย""รุ่นกู้วิกฤติ ช่วยหมื่นชีวิต ร้อยตระกูล หมายเลข 209
ลูกปัดทวาราวดี ท่าชนะ สุราษฎร์ธานี

หน้าหลัก  ข่าวสารจากร้านค้า  วิธีการชำระเงิน  ติดต่อร้าน  เที่ยววัดสะพานสูง  sss  ผู้ดูแล
Copyright©2024 zoonphra.com/amulet
Powered by อ้น ระโนด