ยินดีต้อนรับ เข้าสู่
บทความ
รู้ไว้ใช่ว่า.ใส่บ่าแบกหาม
รายการพระเครื่อง
สาระน่ารู้ ดูที่ภาพ
ลำดับที่เยี่ยมชม
Online:
2
คน
ห้องสนทนา
พระเครื่องเมืองสงขลา
ประวัติเกจิอาจารย์ดัง
เกจิอาจารย์ยอดนิยม
พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน
หลวงปู่ทวด เหยียบน้ำทะเลจืด
หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
หลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ
หลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ
หลวงปู่เอี่ยม วัดหนัง
หลวงพ่อทบ วัดชนแดน
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ
หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
หลวงพ่อเกษม เขมโก
หลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง
หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ
หลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม
หลวงปู่ทิม วัดละหารไร่
หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค
เจ้าคุณนรฯ วัดเทพศิรินทราวาส
ไหว้พระ ลาวนครเวียงจันทร์
เกจิอาจารย์แห่งเมืองสงขลา
หลวงพ่อจันทร์ วัดแหลมวัง
หลวงพ่อคง วัดธรรมโฆษณ์
พ่อท่านเส้ง วัดแหลมทราย
อาจารย์มหาลอย วัดแหลมจาก
หลวงพ่อปลอด วัดหัวป่า
หลวงพ่อสงค์ วัดคงคาวดี
หลวงพ่อสีแก้ว วัดไทรใหญ่
หลวงพ่อเล็ก วัดจุ้มปะ
หลวงพ่อทอง วัดคลองแห
หลวงพ่อเรือง วัดหัววัง
หลวงพ่อปาน วัดโคกสมานคุณ
หลวงพ่อเดิม วัดเอก
เกจิอาจารย์แห่งเมืองพัทลุง
พระอาจารย์ทองเฒ่า วัดเขาอ้อ
พระอาจารย์เอียด วัดดอนศาลา
พระอาจารย์นำ วัดดอนศาลา
พระอาจารย์ปาน วัดเขาอ้อ
หลวงพ่อคง วัดบ้านสวน
หลวงพ่อดิษฐ์ วัดปากสระ
หลวงพ่อหมุน วัดเขาแดงตะวันออก
หลวงพ่อเล็ก วัดประดู่เรียง
หลวงพ่อพลับ วัดชายคลอง
หลวงพ่อเจ็ค วัดเขาแดงตะวันตก
พระอาจารย์ศรีเงิน
หลวงพ่อกลั่น วัดเขาอ้อ
เกจิอาจารย์แห่งเมืองนครศรีฯ
พ่อท่านนวล วัดไสหร้า
หลวงพ่อแดง วัดภูเขาหลัก
พ่อท่านคลิ้ง วัดถลุงทอง
หลวงปู่เขียว วัดหรงบล
หลวงพ่อหนูจันทร์ วัดพัทธสีมา
หลวงพ่อกล่ำ วัดศาลาบางปู
อาจารย์เอียดดำ วัดในเขียว
เจ้าคุณม่วง วัดท่าโพธิ์
หลวงพ่อหีต วัดเผียน
หลวงพ่อมุ่ย วัดป่าระกำเหนือ
พ่อท่านจันทร์ วัดทุ่งเฟื้อ
หลวงพ่อปลอด วัดนาเขลียง
เกจิอาจารย์แห่งเมืองสุราษฎร์
หลวงพ่อพัฒน์ นารโท
หลวงพ่อเพชร วัดวชิรประดิษฐ์
หลวงพ่อกล่อม วัดโพธาวาส
หลวงพ่อพริ้ง วัดแจ้ง
หลวงพ่อชม วัดท่าไทร
หลวงพ่อเชื่อม วัดปราการ
หลวงพ่อจ้อย วัดเขาสุวรรณประดิษฐ์
หลวงพ่อพัว วัดบางเดือน
หลวงพ่อแดง วัดวิหาร
หลวงพ่อเพชร วัดศรีเวียง
หลวงพ่อนุ้ย วัดม่วง
หลวงพ่อแดง วัดแหลมสอ
หลวงพ่อแดง วัดคุณาราม
พ่อท่านเจ้าฟ้า วัดท่าเรือ
หลวงพ่อแต่ง วัดนันทาราม
หลวงพ่อเปี่ยม วัดทุ่งหลวง
เกจิอาจารย์แห่งเมืองชุมพร
หลวงพ่อสงฆ์ วัดเจ้าฟ้าศาลาลอย
หลวงพ่อเปียก วัดนาสร้าง
หลวงพ่อจอน วัดดอนรวบ
หลวงพ่อเลื่อน วัดสามแก้ว
หลวงพ่อจีด วัดถ้ำเขาพลู
พระธรรมจารี วัดขันเงิน
หลวงพ่อรุ่ง วัดบางแหวน
หลวงพ่อขำ วัดประสาทนิกร
หลวงพ่อทอง วัดดอนสะท้อน
หลวงพ่อจร วัดท่ายาง
หลวงพ่อสินธิ์ ปทุมรัตน์ วัดคูขุด
หลวงพ่อมุม วัดนาสัก
หลวงพ่อดำ วัดท่าสุธาราม
หลวงพ่อใส วัดเทพเจริญ
เกจิอาจารย์ ฝั่งอันดามัน
หลวงพ่อบรรณ วัดด่านระนอง
พระอุปัชณาย์เทือก วัดโคกกลอย
หลวงพ่อกลับ วัดสำนักปรุ
หลวงพ่อวัดน้ำรอบ โคกกลอย
หลวงพ่อวัน วัดประสิทธิชัย
หลวงพ่อด่วน วัดบางนอน
เกจิอาจารย์ภาคใต้ตอนล่าง
หลวงพ่อดำ วัดตุยง
เกจิอาจารย์สายอีสาน
ประวัติพระวิปัสสนาจารย์
หลวงปู่ชา วัดหนองป่าพง
พระเครื่องเมืองใต้
หลวงปู่ทวด วัดช้างให้
พระเครื่องพ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน
พระเครื่องหลวงพ่อสงฆ์ วัดเจ้าฟ้าศาลาลอย
พระเครื่องหลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง
พระเครื่องอาจารย์นำ วัดดอนศาลา
พระเครื่องหลวงพ่อคง วัดธรรมโฆษณ์
พระเครื่องพ่อท่านเส้ง วัดแหลมทราย
พระเครื่องหลวงพ่อปลอด วัดหัวป่า
พระเครื่องพ่อท่านซัง วัดวัวหลุง
พระเครื่องพ่อท่านคลิ้ง วัดถลุงทอง
พระเครื่องสังข์ วัดดอนตรอ
พระเครื่องจังหวัดชุมพร
พระเครื่องจังหวัดระนอง
พระเครื่องจังหวัดพังงา
พระเครื่องจังหวัดภูเก็ต
พระเครื่องจังหวัดสุราษฎร์ธานี
พระเครื่องจังหวัดนครศรีธรรมราช
พระเครื่องจังหวัดกระบี่
พระเครื่องจังหวัดพัทลุง
พระเครื่องจังหวัดตรัง
พระเครื่องจังหวัดสตูล
พระเครื่องจังหวัดสงขลา
พระเครื่องจังหวัดปัตตานี
พระเครื่องจังหวัดยะลา
พระเครื่องจังหวัดนราธิวาส
ทำบุญไหว้พระ
ไหว้พระทองที่วัดคลองแดน
เที่ยววัดเกจิอาจารย์ดัง
เกจิดังเมืองสงขลา
หลวงพ่อคง วัดธรรมโฆษณ์
หลวงพ่อพลับ วัดระโนด
พ่อท่านยอด วัดอ่าวบัว
พ่อท่านปลอด วัดหัวป่า
พ่อท่านศรีแก้ว วัดไทรใหญ่
เกจิดังเมืองนครศรี
วัดพัทธสีมา อ. หัวไทร
หลวงพ่อแดง วัดภูเขาหลัก
วัดหรงบน อ. ปากพนัง
หลวงพ่อรุ่ง วัดรามแก้ว
หลวงพ่อคลิ้ง วัดถลุงทอง
หลวงพ่อคลิ้ง วัดถลุงทอง(ต่อ)
พ่อท่านซัง วัดวัวหลุง
พ่อท่านซัง วัดวัวหลุง(ต่อ)
หลวงพ่อขาว วัดปากแพรก
หลวงพ่อคง วัดคลองน้อย
หลวงพ่อเลื่อน วัดดอนผาสุก
หลวงพ่อเพิ่ม วัดสว่างอารมณ์
เกจิดังเมืองพัทลุง
พ่อท่านหมุน วัดเขาแดงตะวันออก
เกจิดังเมืองชุมพร
หลวงพ่อสงฆ์ วัดเจ้าฟ้าศาลาลอย
เว็บลิ้งค์ชมรมต่างๆ
ชมรมคนรักษ์พระเครื่องเมืองสงขลา
ชมรมคนรักษ์พระเครื่องเมืองนครฯ
ชมรมคนรักษ์พระเครื่องเมืองพัทลุง
ชมรมคนรักษ์พระเครื่องเมืองตรัง
ชมรมคนรักษ์ของสะสม
เว็บไซต์วัดเกจิดังในสยาม
วัดอัมพวัน จ. สิงห์บุรี
วัดหนองป่าพง จ. อุบลฯ
วัดเขาแหลม จ. สระแก้ว
หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม
วัดหัวป่า อ. ระโนด จ. สงขลา
วัดแก้วโกรวาราม จ. กระบี่
หลวงปู่ดุลย์ อตุโล
หลวงสมชาย วัดเขาสุกิม
ป้อนหมายเลขสิ่งของ
***พิมพ์หมายเลขสิ่งของจำนวน 13 หลัก
รายละเอียดเพิ่มเติม
หน้าหลัก
:
อดีตสู่ปัจจุบัน
:
เว็บบอร์ดชมรม
:
ตารางประกวดพระ
:
สาระน่ารู้
:
เล่าสู่กันฟัง
:
ติดต่อเรา
พระเครื่องเมืองใต้: พระเครื่องหลวงพ่อปลอด วัดหัวป่า
ย้อนอดีต หลวงตาปลอด วัดหัวป่า แห่งดินแดนเมืองน้ำ
26-08-2009
Views: 6242
คำอธิบาย มองย้อนกลับไปประมาณเมื่อ 40 ปีทีผ่านมาของอำเภอระโนด จากความทรงจำของกระผม สมัยยังเป็นเด็กนักเรียนที่ ร.ร. วัดคลองแดน พร้อมอุปถัม ระโนดมีแต่สะพานไม้เคี่ยมทอดยาวตั้งแต่ตลาดทิศตะวันออกจนถึงตะวันตกยาวประมาณ 2 กิโลเมตร เด็กสมัยนั้นไม่ค่อยมีรองเท้าใส่กันนอกเสียจากผู้ที่อาศัยในตลาดจึงจะมีใส่กัน เด็กที่อยู่ไกลตลาดส่วนมากเดินเท้าเปล่า สะพานไม้เคี่ยมจะมีเสี้ยนสีดำๆ ถ้าเดินไม่ระวังจะถูกเสี้ยนไม้แทง การเดินเท้าเปล่าบนสะพานตอนเช้ายังเดินแบบสบาย เพราะสะพานยังไม่ร้อน แต่พอช่วงกลางวันแดดจัดๆบนพื้นไม้สะพานร้อนมากจนอาจทำให้พองได้ จึงต้องเดินให้เร็วหรือวิ่งหรือไม่ก็ต้องหลบไป เดินตรงบริเวณที่มีเงาบ้าน บ้านจะสร้างติดสะพาน ทอดยาวเชื่อมติดกันตลอด และมีแนวชายคาบ้านยื่นออกมาเกือบครึ่งสะพาน เมื่อถึงหน้าฝน ระโนดจะเกิดน้ำท่วมหรือน้ำพะทุกปีทำให้กระดานไม้เคี่ยมหลุดลอยไปกับน้ำทำให้เกิดเป็นร่อง ถ้าเดินไม่ระวังก็ตกร่องหรือลอดร่องสะพาน ต้องเดินงมกันไปตลอดทาง กว่าจะถึงที่หมายก็ใช้เวลานานพอควร จำได้ว่านักเรียนคนไหนที่พลาดตกร่องเสื้อผ้าเปียกก็กลับบ้านไม่ต้องเรียนหนังสือในวันนั้น ก็ได้เล่นน้ำทั้งวันไป สมัยนั้นแต่ละบ้านส่วนมากมีเรือพายใช้กัน ระโนดมีเรือหางยาวที่เป็นเอกลักษณ์ของคนระโนดเป็นเรือมาดที่ขุดจากต้นไม้ทั้งต้นตัวเรือจะเรียวสวยงามมาก เป็นเรือรับจ้างวิ่งรับผู้โดยสารจากตำบลต่างๆ ของอำเภอ ตลอดจนจังหวัดใกล้เคียง เช่น นครศรีธรรมราช พัทลุง ประมาณได้ว่าเกีอบ 100 ลำ คลองระโนดไม่เงียบเหงาเหมือนสมัยนี้ ระโนดเป็นเมืองน้ำ ชาวระโนดจะต้องยอมรับความจริงในข้อนี้และเมื่อเป็นเมืองน้ำก็ต้องพยายามหาประโยชน์จากทางน้ำ จะขอกล่าวย้อนหลังไปเมื่อหลายสามสิบกว่าปีที่ผ่านมา เส้นทางการคมนาคมของชาวระโนดคือทางเรือ แต่เมื่อถนนสายหัวเขาแดงสร้างเสร็จความสำคัญทางเรือก็เริ่มลดน้อยลงไป ในสมัยก่อนมีเรือยนต์วิ่งจากระโนดไปสงขลา จากระโนดไปพัทลุง จากระโนดไปคลองแดนเส้นทางนี้จะผ่านวัดของหลวงพ่อเรือง วัดหัววัง และจากระโนดไปตะเครียะซึ่งเป็นที่ตั้งของวัดหัวป่า ชึ่งมีเกจิดังของเมืองนี้ก็คือหลวงพ่อปลอด วัดหัวป่า การไปตะเครียะสมัยก่อนคนนอกพื้นที่ไม่มีใครอยากจะไปเพราะเส้นทางต้องผ่านดินแดนอาถรรพ์บริเวณอ่าวศาลาทัน ที่เรือต่างพื้นที่ต้องมาล่มลงผู้คนเสียชีวิตเป็นสิบๆ คน หลายครั้งหลายคลาฆ่า ชีวิตคนมาแล้วหลายร้อยกว่าคน มีคนเฒ่าคนแก่เล่ากันว่าที่เป็นเช่นนั้นเพราะเรือลำที่จมในตอนที่วิ่งตัดผ่านอ่าวศาลาทันมิได้ขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ดูแลอ่าวเสียก่อนและบางรายบอกว่าเรือลำนั้นวิ่งข้ามเศียรพระพุทธรูปซึ่งจมอยู่ใต้ท้องทะเลในละแวกนั้น เนื่องจากในสมันก่อนในอ่าวศาลาทันหรือพื้นที่ใกล้เคียงเคยมีวัดตั้งอยู่ บางคนบอกว่าบริเวณอ่าวศาลาทันมีน้ำวน เมื่อเป็นเช่นนี้ แน่นอนครับ หลวงพ่อปลอด วัดหัวป่า และวัตถุมงคลของท่านถูกเก็บเงียบอยู่ในพื้นที่เป็นเวลากว่า 30 ปี เมื่อ ถนนหนทางที่จะไป วัดหัวป่าสะดวกขึ้น วัตถุมงคลของท่านเริ่มแผ่รัศมีไปทั่ว จังหวัดสงขลาและจังหวัดใกล้เคียงโดยปากต่อปาก มาวันนี้ถนนสายระโนดพัทลุงเสร็จเรียบร้อยแล้ว เป็นถนนยกระดับทอดยาวประมาณ 20 กม.บรรยาการสองข้างทาง จากวัดเขาอ้อกับวัดหัวป่าหรีอบ้านหัวป่ากับบ้านทะเลน้อย อ.ควนขนุน ด้านหลังเป็นทะเลสาบสงขลา อีกด้านหนึ่งของถนนเป็นทะเลน้อย มองใกล้ๆข้างถนนเห็นวัว ควาย เป็นฝูงๆ ในทุ่งหญ้า เห็นนกบินเป็นฝูงๆ ในท้องฟ้าและบนดินนกก็เดินหากินกันเป็นฝูงๆ ชาวประมงหาปลาทอดแห ลงอวน สุ่มปลา ข้างถนนบางช่วงก็มีพืชพันธ์สาหร่ายบึงบัวนานาชนิด ป่าไม้ ทุ่งหญ้า มองไกลๆ ออกไปเห็นทิวเขาทิวป่าไม้ เห็นเรือหาปลาในทะเลทิวทัศน์สวยงามมาก อากาศก็แสนบริสุทธิ์ น่าพาครอบครัวหรือคู่หมั้นไปทัศนาจร ข้ามคลองนางเรียม ซึ่งเป็นคลองที่เชื่อมระหว่างทะเลสาบกับทะเลน้อยอดีตมีจระเข้อยู่ชุกชุม ตามกลอนมโนราห์โบราณที่ว่า "หากพ่อไปทางทะเลจะเป็นเหยื่อเข้หรือเหรา" นับว่าเป็นสถานทีท่องเที่ยวแห่งใหม่ก็ว่าได้ จึงไม่แปลกที่ทำให้ผู้คนหลั่งไหลมายังวัดหัวป่ามากมายทั่วสารทิศบวกด้วยประสพการณ์ของวัตถุมงคลที่ชัดเจนของแต่ละรุ่น จึงส่งและทำให้วัตถุของท่านทุกรุ่น แพงขึ้นเลื่อยและทำถ้าว่าจะแพงขึ้นไปอีกเลื่อยๆ ส่วนเรือที่วิ่งระหว่างระโนดกับสงขลาที่ขึ้นชื่อก็มีอยู่หลายลำ ซึ่งจะออกจากตลาดประมาณ 2 ทุ่มถึงสามทุ่ม ไปถึงสงขลาก็ใกล้สว่างประมาณตีห้า มีเรื่องเล่าที่ตื่นเต้นเรื่องหนึ่งให้ผู้อ่านได้ฟัง คือในคืนวันหนึ่งขณะที่เรือยนต์กำลังวิ่งจากระโนดไปสงฃลา ในตอนนั้นเป็นเวลาดึกมากแล้วผู้โดยสารส่วนใหญ่จะนอนหลับกันหมด เพื่อนของผู้เขียนซึ่งเป็นคน บ้านตะเครียะ ต้องการจะไปห้องน้ำซึ่งอยู่ท้ายเรือ จึงได้เดินลัดเลาะไปตามกราบเรือ จะด้วยสาเหตุเพราะความง่วงนอนหรือเหตุผลอื่นใดไม่ทราบ จึงได้พลัดตกไปในทะเลสาบ โดยไม่มีเจ้าหน้าที่ประจำเรือหรือผู้โดยสารคนใดทราบเลย เขาเล่าว่า ตัวเขาเองว่ายน้ำไม่เก่ง และกระแสน้ำเชี่ยวมาก เขาคิดอยู่ในใจว่าคงตายแน่นอน จะตะโกนให้ใครช่วยเหลือก็ไม่มีใครได้ยิน เรื่องความกลัวเขาบอกว่าไม่ต้องพูดถึง และในขณะนั้นได้เกิดภาพความน่ากลัวเกิดขึ้นต่างๆ นานา และสิ่งที่ทำให้เขาตกใจกลัวมากที่สุด คือ แสงระเรื่อสีเขียวอ่อนเกิดขึ้นรอบตัวเขา และแน่นอนที่เขาคิดว่ามันไม่ใช่สิ่งอื่นใดนอกจากผีพลายตามผู้ใหญ่เคยเล่าให้ฟังเขาแถบหมดสติ ความหวังสุดท้ายก็ต้องพึ่งพระที่ห้อยคอ ก็ได้เอามือไปกำพระที่อยู่ในคอ และได้เกิดภาพพระสงฆ์ขึ้นมารูปหนึ่ง เขาหลับตาชั่วหนึ่ง ทันใดนั้นน้ำได้พัดพาร่างของเขาไปชนกับเสาโพงพาง เขาบอกว่าโชคดีที่ไม่ติดเข้าไปในโพงพางจึงได้อาศัยเกาะเสาหลักอั้นนั้นเอาไว้แน่น ความหนาวเย็นและความกลัวไม่ลดลงไปได้เลย เขาเกาะเสาหลักอยู่นานเท่าใดไม่สามารถทราบได้แน่นอน แต่เป็นเวลานาน ต่อมาเขาเห็นเรือพายลำหนึ่งพายเข้ามาหา จึงได้ร้องตะโกนขอความช่วยเหลือ แทนที่เรือลำนั้นจะพายเข้ามา แต่กลับรีบพายหนีออกไปโดยไม่มองกลับหลังอีกเลย และมาทราบเอาตอนรุ่งเช้าจากเจ้าของโพงพางนั้นว่าที่เขาพายเรือหนีไปเพราะพวกเขาคิดว่าเป็นผีพลาย เนื่องจากไม่คิดว่าในเวลานั้นและสถานที่นั้นจะมีมนุษย์มาจับเสาโพงพางอยู่เป็นแน่แท้ ในตัวของเขานั้นเล่ามีเพียงเนื้อว่านรุ่น "อินโดจีน" เพียงรุ่นเดียวเท่านั้น ที่แม่ได้รับมาจากตาหลวงปลอด แห่งวัดหัวป่า นานมาแล้วเป็นเนื้อว่านรุ่นแรกของท่านที่ท่านทำเอง และแม่ก็มอบให้เขาไว้เพื่อคุ้มครอง
พระเครื่องเมืองใต้: พระเครื่องหลวงพ่อปลอด วัดหัวป่า
------------------------
หน้าหลัก
คำถามที่มีการถามบ่อย
เราเล่นพระทำไม ?
กฎหมายพระเครื่อง
เกร็ดเล็ก-เกร็ดน้อย
สมัครเปิดร้านค้า
การชำระเงินค่าร้านค้า
ความรู้เกี่ยวกับพระเครื่อง
ข้อมูลสถิติเกี่ยวกับร้านค้า
หน้าหลัก
อดีตสู่ปัจจุบัน
เว็บบอร์ดชมรม
ตารางประกวดพระ
สาระน่ารู้
เล่าสู่กันฟัง
ติดต่อเรา
Copyright©2024 zoonphra.com
Powered by Tactical IT